52010915104g4

วันพุธที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555

ภาวะโลกร้อน >> หมู่เกาะมัลดีฟส์


หมู่เกาะมัลดีฟส์ หรือชื่อเรียกเต็มๆว่า สาธารณรัฐมัลดีฟส์ (Republic of Maldives) เป็นประเทศที่ประกอบด้วยหมู่เกาะมากมายกว่า 1,900 เกาะ ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศศรีลังกาและประเทศอินเดีย

มัลดีฟส์เป็นสถานที่ท่องเที่ยวระดับโลก นักท่องเที่ยวนิยมมาพักผ่อนท่ามกลางธรรมชาติของเกาะที่สวยงาม ดำน้ำดูแนวปะการังและสัตว์น้ำที่มีอยู่มากมาย เกาะมัลดีฟส์ถือว่าเป็นเกาะสวรรค์ของทุกคนที่ไปเยือนเลยก็ว่าได้

แต่ภาวะโลกร้อนก็ทำให้เกาะสวรรค์แห่งนี้ตกอยู่ในสถานการณ์ที่น่าเป็นห่วงอย่างมาก เมื่อผลการวัดระดับน้ำทะเลรอบๆเกาะตลอด 15 ปีที่ผ่านมานี้เพิ่มขึ้นถึง 4.5 เซนติเมตร คาดว่าระดับน้ำจะเพิ่มสูงขึ้นถึง 20-60 เซนติเมตรภายในสิ้นศตวรรษนี้ และเราจะพบพายุที่บริเวณเกาะมัลดีฟส์บ่อยขึ้น ซึ่งเหตุการณ์ที่ว่านี้จะส่งผลกระทบต่อประชากรของประเทศและนักท่องเที่ยวอย่างมากแน่นอน ประเทศมัลดีฟส์เป็นประเทศแรกที่ลงนามในพิธีสารเกียวโต (เป็นมาตรการทางกฎหมายที่ใช้ดำเนินการในการรับมือกับภาวะโลกร้อน)

อ้างอิง

http://www.greentheearth.info/%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%B0%E0%B9%82%E0%B8%A5%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%99-%E0%B8%A1%E0%B8%B1%E0%B8%A5%E0%B8%94%E0%B8%B5%E0%B8%9F%E0%B8%AA%E0%B9%8C/

วันอังคารที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555

ประชาคมโลกตอบสนองต่อปัญหานี้อย่างไร


ในการประชุมภูมิอากาศโลกครั้งแรก (The First World Climate Conference) ซึ่งจัดขึ้นที่เจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ระหว่างวันที่ 12 - 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2522 นักวิทยาศาสตร์ได้ตระหนักถึงปัญหาการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลก การประชุมครั้งนี้เน้นถึงเรื่องผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศที่มีต่อมนุษย์เป็นส่วนใหญ่ และเรียกร้องให้รัฐบาลของแต่ละประเทศให้ความสำคัญกับภูมิอากาศที่กำลังเปลี่ยนแปลงและป้องกันการกระทำของมนุษย์ที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ซึ่งจะกลับมามีผลกระทบต่อมนุษย์เอง นอกจากนี้ยังได้วางแผนจัดตั้ง "แผนงานภูมิอากาศโลก" (World Climate Programme หรือ WCP) ภายใต้ความรับผิดชอบขององค์การอุตุนิยมวิทยาโลก (World Meteorological Organization หรือ WMO), โครงการสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ (United Nations Environment Programme หรือ UNEP) และ International Council of Science Unions หรือ ICSU
หลังจาก พ.ศ. 2522 เป็นต้นมาได้มีการประชุมระหว่างประเทศเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศอีกหลายครั้ง ที่สำคัญ ๆ ได้แก่ The Villach Conference ประเทศออสเตรีย (9 - 15 ตุลาคม 2528), The Toronto Conference ประเทศแคนาดา (27 - 30 มิถุนายน พ.ศ.), The Ottawa Conference ประเทศแคนาดา (20 - 22 กุมภาพันธ์ 2532), The Tata Conference นิวเดลฮี ประเทศอินเดีย (21 - 23 กุมภาพันธ์ 2532), The Hague Conference and Declaration ประเทศเนเธอร์แลนด์ (11 มีนาคม 2532), The Noordwijk Ministerial Conference ประเทศเนเธอร์แลนด์ (6 - 7 พฤศจิกายน 2532), The Cairo Compact ประเทศอียิปต์ (ธันวาคม 2532) และ The Bergen Conference ประเทศนอรเวย์ (พฤษภาคม 2533) การประชุมเหล่านี้ช่วยให้ประเทศต่าง ๆ ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศมากขึ้น ผู้เข้าร่วมประชุม รวมทั้งผู้กำหนดนโยบายในหน่วยงานรัฐบาล นักวิทยาศาสตร์และนักสิ่งแวดล้อม ได้พิจารณาประเด็นทั้งด้านวิทยาศาสตร์และนโยบาย และเรียกร้องให้ประเทศต่าง ๆ ทั่วโลกร่วมมือดำเนินการเกี่ยวกับปัญหานี้
ปี พ.ศ. 2531 องค์การอุตุนิยมวิทยาโลก และโครงการสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ ได้จัดตั้ง คณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ (Intergovernmental Panel on Climate Change หรือ IPCC) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินข้อมูลข่าวสารด้านวิทยาศาสตร์ และเศรษฐกิจ-สังคมที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำไปสู่ความรู้ความเข้าใจเรื่องการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ตลอดจนผลกระทบ การปรับตัว และการบรรเทาปัญหาอันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
พ.ศ. 2533 IPCC ได้เสนอรายงานการประเมินครั้งที่ 1 (The First Assessment Report) ซึ่งเน้นย้ำปรากฏการณ์ทางวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ รายงานนี้มีผลอย่างมากต่อสาธารณชนและผู้กำหนดนโยบาย และเป็นพื้นฐานในการเจรจาอนุสัญญาว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
ในเดือนธันวาคม 2533 ที่ประชุมสมัชชาสหประชาชาติมีมติให้เริ่มดำเนินการเจรจาข้อตกลง โดยตั้งคณะกรรมการเจรจาระหว่างรัฐบาลเพื่อจัดทำร่างอนุสัญญาว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ (Intergovernmatal Nogotiating Committee for a Framework Convention on Climate Change หรือ INC/FCCC) ซึ่งได้มีการประชุมทั้งหมด 5 ครั้ง ตั้งแต่กุมภาพันธ์ 2534 - พฤษภาคม 2535 และเนื่องจากเส้นตายที่จะมีการประชุมสุดยอดของโลก (Earth Summit) หรือการประชุมแห่งสหประชาชาติว่าด้วยสิ่งแวดล้อมและการพัฒนา (United Nations Conference on Environment and Development หรือ UNCED) ในเดือนมิถุนายน 2535 ผู้เจรจาจาก 150 ประเทศจึงจัดทำร่างอนุสัญญาฯ เสร็จสิ้น และยอมรับที่นิวยอร์ค เมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม 2535
ในการประชุมสุดยอดของโลก เมื่อเดือนมิถุนายน 2535 ที่กรุงริโอ เดอ จาเนโร ประเทศบราซิล ตัวแทนรัฐบาล 154 รัฐบาล (รวมสหภาพยุโรป) ได้ลงนามในอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ (United Nations Framework Convention on Climate Change หรือ UNFCCC) โดยเป้าหมายสูงสุดของ UNFCCC คือ การรักษาระดับปริมาณก๊าซเรือนกระจกในบรรยากาศให้คงที่อยู่ในระดับที่ไม่มีผลกระทบต่อระบบภูมิอาในการประชุมภูมิอากาศโลกครั้งแรก (The First World Climate Conference) ซึ่งจัดขึ้นที่เจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ระหว่างวันที่ 12 - 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2522 นักวิทยาศาสตร์ได้ตระหนักถึงปัญหาการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลก การประชุมครั้งนี้เน้นถึงเรื่องผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศที่มีต่อมนุษย์เป็นส่วนใหญ่ และเรียกร้องให้รัฐบาลของแต่ละประเทศให้ความสำคัญกับภูมิอากาศที่กำลังเปลี่ยนแปลงและป้องกันการกระทำของมนุษย์ที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ซึ่งจะกลับมามีผลกระทบต่อมนุษย์เอง นอกจากนี้ยังได้วางแผนจัดตั้ง "แผนงานภูมิอากาศโลก" (World Climate Programme หรือ WCP) ภายใต้ความรับผิดชอบขององค์การอุตุนิยมวิทยาโลก (World Meteorological Organization หรือ WMO), โครงการสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ (United Nations Environment Programme หรือ UNEP) และ International Council of Science Unions หรือ ICSU
หลังจาก พ.ศ. 2522 เป็นต้นมาได้มีการประชุมระหว่างประเทศเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศอีกหลายครั้ง ที่สำคัญ ๆ ได้แก่ The Villach Conference ประเทศออสเตรีย (9 - 15 ตุลาคม 2528), The Toronto Conference ประเทศแคนาดา (27 - 30 มิถุนายน พ.ศ.), The Ottawa Conference ประเทศแคนาดา (20 - 22 กุมภาพันธ์ 2532), The Tata Conference นิวเดลฮี ประเทศอินเดีย (21 - 23 กุมภาพันธ์ 2532), The Hague Conference and Declaration ประเทศเนเธอร์แลนด์ (11 มีนาคม 2532), The Noordwijk Ministerial Conference ประเทศเนเธอร์แลนด์ (6 - 7 พฤศจิกายน 2532), The Cairo Compact ประเทศอียิปต์ (ธันวาคม 2532) และ The Bergen Conference ประเทศนอรเวย์ (พฤษภาคม 2533) การประชุมเหล่านี้ช่วยให้ประเทศต่าง ๆ ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศมากขึ้น ผู้เข้าร่วมประชุม รวมทั้งผู้กำหนดนโยบายในหน่วยงานรัฐบาล นักวิทยาศาสตร์และนักสิ่งแวดล้อม ได้พิจารณาประเด็นทั้งด้านวิทยาศาสตร์และนโยบาย และเรียกร้องให้ประเทศต่าง ๆ ทั่วโลกร่วมมือดำเนินการเกี่ยวกับปัญหานี้
ปี พ.ศ. 2531 องค์การอุตุนิยมวิทยาโลก และโครงการสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ ได้จัดตั้ง คณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ (Intergovernmental Panel on Climate Change หรือ IPCC) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินข้อมูลข่าวสารด้านวิทยาศาสตร์ และเศรษฐกิจ-สังคมที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำไปสู่ความรู้ความเข้าใจเรื่องการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ตลอดจนผลกระทบ การปรับตัว และการบรรเทาปัญหาอันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
พ.ศ. 2533 IPCC ได้เสนอรายงานการประเมินครั้งที่ 1 (The First Assessment Report) ซึ่งเน้นย้ำปรากฏการณ์ทางวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ รายงานนี้มีผลอย่างมากต่อสาธารณชนและผู้กำหนดนโยบาย และเป็นพื้นฐานในการเจรจาอนุสัญญาว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
ในเดือนธันวาคม 2533 ที่ประชุมสมัชชาสหประชาชาติมีมติให้เริ่มดำเนินการเจรจาข้อตกลง โดยตั้งคณะกรรมการเจรจาระหว่างรัฐบาลเพื่อจัดทำร่างอนุสัญญาว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ (Intergovernmatal Nogotiating Committee for a Framework Convention on Climate Change หรือ INC/FCCC) ซึ่งได้มีการประชุมทั้งหมด 5 ครั้ง ตั้งแต่กุมภาพันธ์ 2534 - พฤษภาคม 2535 และเนื่องจากเส้นตายที่จะมีการประชุมสุดยอดของโลก (Earth Summit) หรือการประชุมแห่งสหประชาชาติว่าด้วยสิ่งแวดล้อมและการพัฒนา (United Nations Conference on Environment and Development หรือ UNCED) ในเดือนมิถุนายน 2535 ผู้เจรจาจาก 150 ประเทศจึงจัดทำร่างอนุสัญญาฯ เสร็จสิ้น และยอมรับที่นิวยอร์ค เมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม 2535
ในการประชุมสุดยอดของโลก เมื่อเดือนมิถุนายน 2535 ที่กรุงริโอ เดอ จาเนโร ประเทศบราซิล ตัวแทนรัฐบาล 154 รัฐบาล (รวมสหภาพยุโรป) ได้ลงนามในอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ (United Nations Framework Convention on Climate Change หรือ UNFCCC) โดยเป้าหมายสูงสุดของ UNFCCC คือ การรักษาระดับปริมาณก๊าซเรือนกระจกในบรรยากาศให้คงที่อยู่ในระดับที่ไม่มีผลกระทบต่อระบบภูมิอากาศ

อ้างอิง

http://www.tmd.go.th/info/info.php?FileID=86#q8

วันจันทร์ที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2555

โลกร้อนทำธารน้ำแข็งละลายหนัก ยอดเขา “ เอเวอเรสต์ ” อันตราย




ผลพวงจากภาวะโลกร้อนยังเดินหน้าทำลายพื้นที่หนาวเย็นต่อไป โดยล่าสุดสหประชาชาติอาจยกชื่อ “ยอดเขาเอเวอเรสต์” ในเทือกเขาหิมาลัยเข้าไปอยู่ในบัญชี “อันตราย”

โครงการ “มิตรของโลก” หรือ “เฟรนด์ส ออฟ ดิเอิร์ธ” (Friends of the Earth) ซึ่งมีสำนักงานใหญ่อยู่ที่อังกฤษ เปิดเผยว่า การละลายของหิมะ จนกลายเป็นกระแสธารน้ำแข็งบน “เอเวอเรสต์” ยอดเขาที่สูงที่สุดในโลก ในเทือกเขาหิมาลัย นอกจากจะมากพอจนเกือบสร้างทะเลสาบหิมาลัยได้แล้ว อาจจะสร้างน้ำท่วมบ่าเป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิต และทำลายสิ่งแวดล้อมอันเป็นลักษณะเฉพาะของธรรมชาติแถบนั้น

อย่างไรก็ดี ทางกลุ่มมิตรโลกจะอ้อนวอนให้คณะกรรมการมรดกโลก ยูเนสโกแห่งสหประชาชาติ (U.N.'s World Heritage Committee) ในปารีส พร้อมด้วยนักปีนเขาผู้พิชิตยอดสูงสุดของเอเวอเรสต์ เช่น ไรน์โฮลด์ มาสเนอร์ (Reinhold Messner) ให้ช่วยกันสังเกตการณ์ความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้น

”ยอดเขาเอเวอเรสต์เป็นสัญลักษณ์อันทรงพลังแห่งธรรมชาติของโลก ไม่ใช่แค่เพียงในเนปาล แต่ถ้าเอเวอเรสต์ถูกทำร้ายด้วยภาวะโลกร้อน พวกเราก็จะเริ่มตระหนักทันทีว่านี่เป็นสถานการณ์ที่อันตรายต่อชีวิตเป็นอย่างยิ่ง” ปรากาช ชาร์มา (Prakash Sharma) ผู้อำนวยการโครงการมิตรของโลกในเนปาลเผย
สถานการณ์โลกร้อนกำลังหนักขึ้นทุกขณะ หลังจากมีปริมาณก๊าซต่างๆ แพร่เข้าสู่ชั้นบรรยากาศมากขึ้น โดยเฉพาะ “คาร์บอน ไดออกไซด์” ตัวการหลักในการทำร้ายสภาพภูมิอากาศทั่วโลก ซึ่งการละลายของธารน้ำแข็งเป็นสัญญาณแรกๆ ที่บอกแก่ชาวโลกว่ากาลอากาศเริ่มเปลี่ยน โดยอุณหภูมิสูงขึ้นเรื่อยๆ

ทางด้าน เพมบา ดอร์เจ เชอร์ปา (Pemba Dorje Sherpa) ผู้ซึ่งใช้เวลาน้อยที่สุดในการปีสู่ยอดเขาเอเวอเรสต์ เปิดเผยว่า หิมะและน้ำแข็งที่เกาะอยู่ตามแนวเขาลดน้อยลงทุกขณะ ซึ่งทำให้เอเวอเรสต์มีความงามทางธรรมชาติลดลง และถ้าสิ่งเหล่านี้หมดไป ก็จะไม่เหลืออะไรไว้ให้เด็กๆ ของเราอีกต่อไป




ที่มา
http://sanluck.igetweb.com/articles/198794/%E0%B9%82%E0%B8%A5%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%B3%E0%B8%98%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B3%E0%B9%81%E0%B8%82%E0%B9%87%E0%B8%87%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%B1%E0%B8%81-%E0%B8%A2%E0%B8%AD%E0%B8%94%E0%B9%80%E0%B8%82%E0%B8%B2-%E2%80%9C-%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B9%80%E0%B8%A7%E0%B8%AD%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B8%95%E0%B9%8C-%E2%80%9D-%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A2.html

วันพฤหัสบดีที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2555


คำขวัญเกี่ยวกับการประหยัดน้ำประหยัดไฟ

คำขวัญลดโลกร้อน

ลดโลกร้อน เราทุกคนพึงตระหนัก ก่อนอื่นจักต้องลด การใช้ไฟ
อุณหะภูมิคือต้นตอ ของเภภัย ขอชาวไทยโปรดพินิจ ด้วยจิตดี

กินอย่างไรช่วยลดภาวะโลกร้อน


วันนี้ผมมีวิธีการเลือกอาหารการกินแบบที่สามารถช่วยลดภาวะโลกร้อนได้มาฝากกันครับ การช่วยลดภาวะโลกร้อนไม่ได้ยากอยากที่คิดเลยครับ แม่กระทั่งการเลือกซื้ออาหารที่ถูกต้องเหมาะสม ก็สามารถช่วยลดภาวะโลกร้อนได้แล้ว
อาหารเป็นหนึ่งในปัจจัยในการดำรงค์ชีวิตของมนุษย์ ดังนั้นเราคงปฏิเสธไม่ได้ว่าอาหารเป็นสิ่งที่สำคัญต่อเรา คนเราปกติแล้วกินอาหารทุกวัน ถ้าเรารู้วิธีที่จะช่วยลดภาวะโลกร้อนได้ โดยการเลือกซื้ออาหารในแบบที่ถูกต้องแล้ว ผมคิดว่าคงจะช่วยโลกได้พอสมควรเลยทีเดียวครับ ทีนี้เรามาดูกันว่าเลือกซื้ออาหารอย่างไรถึงจะช่วยลดภาวะโลกร้อนได้
ซื้อของสดที่ตลาดใกล้บ้าน ถ้าใกล้ๆบ้านของท่านมีตลาดสดอยู่ ก็ควรที่จะซื้ออาหารหรือของทำกับข้าวที่นั่น เพราะว่าถ้าเทียบกับการซื้อกับข้าวหรือของสดภายในห้าง ที่มีการแพ็คเกจจิ้งอย่างฟุ่มเฟือย ทั้งถาดโฟม ห่อพลาสติค กล่องกระดาษ แล้วนั้น การซื้อของจากตลาดสดจะมีผลดีต่อโลกมากกว่า แล้วก็อย่าลืมเอาถุงผ้าหรือตะกร้าของเราไปจ่ายตลาดด้วยนะครับ
แวะซื้อของหรือกับข้าวหลังจากเลิกงานหรือไปธุระ ถ้าในทางผ่านของเรามีตลาดสด หรือร้านขายกับข้าว ก็ควรจะแวะซื้อไปเลย จะได้ไม่เปลืองค่าน้ำมันรถ แล้วยิ่งตอนนี้น้ำมันแพงแล้วด้วย นอกจากช่วยลดภาวะโลกร้อนได้ ยังจะช่วยลดค่าใช้จ่ายของเราไปอีกทางหนึ่งด้วย
ซื้อผักผลไม้ตามฤดูกาล ที่ปลูกภายในประเทศ แล้วถ้ายิ่งเป็นผักปลอดสารพิษนั้นยิ่งน่าอุดหนุน เพราะการใช้ยาฆ่าแมลงนั้น นอกจากจะทำให้เกิดสารพิษทำร้ายโลกแล้ว ยังจะเป็นอันตรายต่อเราอีกด้วย และการเลือกซื้อผลไม้ที่ปลูกในประทศเรานั้น นอกจากจะช่วยสนับสนุนเกษตรกรไทยแล้วนั้น ยังจะช่วยลดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากการขนส่งข้ามประเทศ ลดพลังงานจากการต้องแช่แข็ง แถมเรายังได้กินของที่สดกว่าด้วย
ลดการกินอาหารแช่แข็ง อาหารแช่แข็งเป็นอาหารที่แทบจะใช้พลังงานสิ้นเปลืองในทุกขั้นตอน ไม่ว่าจะเป็นกล่องพลาสติกที่ใส่ การขนส่ง แล้วยังจะต้องแช่เย็นไว้ตลอดเวลา แถมตอนจะกินยังต้องใช้ไมโครเวฟอุ่นอีก ดังนั้นถ้าไม่จำเป็นก็ไม่ควรจะกินอาหารแช่แข็ง
ลดกินเนื้อวัว อุตสาหกรรมเนื้อวัวนั้นสร้างก๊าซเรือนกระจกสูง ไม่ว่าจะเป็นก๊าซคาร์บอนไดอ๊อกไซด์, ก๊าซมีเทนที่ออกมาจากมูลและการเรอของวัว เพื่อนๆสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับเนื้อวัวได้ที่นี่ครับ กินเนื้อทำให้เกิดภาวะโลกร้อน
ถ้าเพื่อนๆสามารถทำแบบนี้ได้ทั้งหมด หรือว่าซัก 2-3 ข้อก็ยังดีนะครับ แค่นั้นก็จะช่วยลดภาวะโลกร้อนได้แล้ว

อ้างอิง

ภาวะโลกร้อน กับ โรงเรียน



ผลพวงจากภาวะโลกร้อนยังเดินหน้าทำลายพื้นที่หนาวเย็นต่อไป โดยล่าสุดสหประชาชาติอาจยกชื่อ “ยอดเขาเอเวอเรสต์” ในเทือกเขาหิมาลัยเข้าไปอยู่ในบัญชี “อันตราย”


โครงการ “มิตรของโลก” หรือ “เฟรนด์ส ออฟ ดิเอิร์ธ” (Friends of the Earth) ซึ่งมีสำนักงานใหญ่อยู่ที่อังกฤษ เปิดเผยว่า การละลายของหิมะ จนกลายเป็นกระแสธารน้ำแข็งบน “เอเวอเรสต์” ยอดเขาที่สูงที่สุดในโลก ในเทือกเขาหิมาลัย นอกจากจะมากพอจนเกือบสร้างทะเลสาบหิมาลัยได้แล้ว อาจจะสร้างน้ำท่วมบ่าเป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิต และทำลายสิ่งแวดล้อมอันเป็นลักษณะเฉพาะของธรรมชาติแถบนั้น


อย่างไรก็ดี ทางกลุ่มมิตรโลกจะอ้อนวอนให้คณะกรรมการมรดกโลก ยูเนสโกแห่งสหประชาชาติ (U.N.'s World Heritage Committee) ในปารีส พร้อมด้วยนักปีนเขาผู้พิชิตยอดสูงสุดของเอเวอเรสต์ เช่น ไรน์โฮลด์ มาสเนอร์ (Reinhold Messner) ให้ช่วยกันสังเกตการณ์ความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้น


”ยอดเขาเอเวอเรสต์เป็นสัญลักษณ์อันทรงพลังแห่งธรรมชาติของโลก ไม่ใช่แค่เพียงในเนปาล แต่ถ้าเอเวอเรสต์ถูกทำร้ายด้วยภาวะโลกร้อน พวกเราก็จะเริ่มตระหนักทันทีว่านี่เป็นสถานการณ์ที่อันตรายต่อชีวิตเป็นอย่างยิ่ง” ปรากาช ชาร์มา (Prakash Sharma) ผู้อำนวยการโครงการมิตรของโลกในเนปาลเผย

สถานการณ์โลกร้อนกำลังหนักขึ้นทุกขณะ หลังจากมีปริมาณก๊าซต่างๆ แพร่เข้าสู่ชั้นบรรยากาศมากขึ้น โดยเฉพาะ “คาร์บอน ไดออกไซด์” ตัวการหลักในการทำร้ายสภาพภูมิอากาศทั่วโลก ซึ่งการละลายของธารน้ำแข็งเป็นสัญญาณแรกๆ ที่บอกแก่ชาวโลกว่ากาลอากาศเริ่มเปลี่ยน โดยอุณหภูมิสูงขึ้นเรื่อยๆ


ทางด้าน เพมบา ดอร์เจ เชอร์ปา (Pemba Dorje Sherpa) ผู้ซึ่งใช้เวลาน้อยที่สุดในการปีสู่ยอดเขาเอเวอเรสต์ เปิดเผยว่า หิมะและน้ำแข็งที่เกาะอยู่ตามแนวเขาลดน้อยลงทุกขณะ ซึ่งทำให้เอเวอเรสต์มีความงามทางธรรมชาติลดลง และถ้าสิ่งเหล่านี้หมดไป ก็จะไม่เหลืออะไรไว้ให้เด็กๆ ของเราอีกต่อไป

อ้างอิง

วันพุธที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2555

ทำไมแกนโลกจึงเอียง

การหมุนของโลก




ผลพวงจากภาวะโลกร้อนยังเดินหน้าทำลายพื้นที่หนาวเย็นต่อไป โดยล่าสุดสหประชาชาติอาจยกชื่อ “ยอดเขาเอเวอเรสต์” ในเทือกเขาหิมาลัยเข้าไปอยู่ในบัญชี “อันตราย”

โครงการ “มิตรของโลก” หรือ “เฟรนด์ส ออฟ ดิเอิร์ธ” (Friends of the Earth) ซึ่งมีสำนักงานใหญ่อยู่ที่อังกฤษ เปิดเผยว่า การละลายของหิมะ จนกลายเป็นกระแสธารน้ำแข็งบน “เอเวอเรสต์” ยอดเขาที่สูงที่สุดในโลก ในเทือกเขาหิมาลัย นอกจากจะมากพอจนเกือบสร้างทะเลสาบหิมาลัยได้แล้ว อาจจะสร้างน้ำท่วมบ่าเป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิต และทำลายสิ่งแวดล้อมอันเป็นลักษณะเฉพาะของธรรมชาติแถบนั้น

อย่างไรก็ดี ทางกลุ่มมิตรโลกจะอ้อนวอนให้คณะกรรมการมรดกโลก ยูเนสโกแห่งสหประชาชาติ (U.N.'s World Heritage Committee) ในปารีส พร้อมด้วยนักปีนเขาผู้พิชิตยอดสูงสุดของเอเวอเรสต์ เช่น ไรน์โฮลด์ มาสเนอร์ (Reinhold Messner) ให้ช่วยกันสังเกตการณ์ความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้น

”ยอดเขาเอเวอเรสต์เป็นสัญลักษณ์อันทรงพลังแห่งธรรมชาติของโลก ไม่ใช่แค่เพียงในเนปาล แต่ถ้าเอเวอเรสต์ถูกทำร้ายด้วยภาวะโลกร้อน พวกเราก็จะเริ่มตระหนักทันทีว่านี่เป็นสถานการณ์ที่อันตรายต่อชีวิตเป็นอย่างยิ่ง” ปรากาช ชาร์มา (Prakash Sharma) ผู้อำนวยการโครงการมิตรของโลกในเนปาลเผย
สถานการณ์โลกร้อนกำลังหนักขึ้นทุกขณะ หลังจากมีปริมาณก๊าซต่างๆ แพร่เข้าสู่ชั้นบรรยากาศมากขึ้น โดยเฉพาะ “คาร์บอน ไดออกไซด์” ตัวการหลักในการทำร้ายสภาพภูมิอากาศทั่วโลก ซึ่งการละลายของธารน้ำแข็งเป็นสัญญาณแรกๆ ที่บอกแก่ชาวโลกว่ากาลอากาศเริ่มเปลี่ยน โดยอุณหภูมิสูงขึ้นเรื่อยๆ

ทางด้าน เพมบา ดอร์เจ เชอร์ปา (Pemba Dorje Sherpa) ผู้ซึ่งใช้เวลาน้อยที่สุดในการปีสู่ยอดเขาเอเวอเรสต์ เปิดเผยว่า หิมะและน้ำแข็งที่เกาะอยู่ตามแนวเขาลดน้อยลงทุกขณะ ซึ่งทำให้เอเวอเรสต์มีความงามทางธรรมชาติลดลง และถ้าสิ่งเหล่านี้หมดไป ก็จะไม่เหลืออะไรไว้ให้เด็กๆ ของเราอีกต่อไป

วิกฤติการณ์ของโลก
















เอเจนซี/เอพี - นักวิทยาศาสตร์จาก 113 ประเทศ ได้นำรายงานเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลกฉบับสำคัญ ออกเผยแพร่ โดยระบุว่า พวกเขาแทบไม่แปลกใจที่จะบอกว่า "มนุษย์" เป็นตัวการสำคัญทำให้เกิดโลกร้อน และทำนายว่าอุณหภูมิจะยังคงเพิ่มสูงขึ้น และระดับน้ำทะเลยังคงเพิ่มต่อเนื่องไปนับศตวรรษ นอกจากนี้ยังกดดันรัฐบาลต่างๆ ให้ลงมือต่อสู้กับภาวะโลกร้อนที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วให้มากกว่านี้ นับเป็นคำเตือนอันหนักแน่นที่สุดเท่าที่เคยมีมา

คณะกรรมาธิการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยความเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศ (IPCC) ซึ่งเป็นกลุ่มผู้เชี่ยวชาญด้านโลกร้อนที่รวบรวมนักวิทยาศาสตร์ 2,500 คนจากกว่า 130 ประเทศ เปิดเผยรายงานความยาว 21 หน้า ที่มีหลักฐานทางวิทยาศาสตร์รองรับมากที่สุดเท่าที่เคยมีมาถึงสถานการณ์โลกร้อนที่เกิดขึ้น โดยอธิบายว่าสถานการณ์ดังกล่าวเกิดขึ้นได้อย่างไร และเพราะเหตุใด เมื่อวันที่ 2 เดือน 2 และยังมีรายงานอีก 2 ฉบับจะเปิดเผยติดตามมาในไม่ช้า

รายงานของไอพีซีซีระบุว่า "เป็นไปได้อย่างมาก" ซึ่งมีแนวโน้มมากกว่า 90% ที่กิจกรรมที่มนุษย์เป็นผู้ก่อให้เกิดสิ่งเหล่านี้ขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การเผาไหม้เชื้อเพลิงฟอสซิล (เช่นน้ำมัน, ก๊าซ, ถ่านหิน) เป็นสาเหตุเกือบทั้งหมดของการเกิดภาวะโลกร้อนในรอบ 50 ปีที่ผ่านมา

ตัวเลขดังกล่าวหนักแน่นขึ้นกว่ารายงานฉบับที่แล้วเมื่อปี 2001 ซึ่งไอพีซีซีระบุว่า ความเกี่ยวเนื่องดังกล่าวอยู่ในระดับ "เป็นไปได้" โดยมีแนวโน้มอยู่ที่ 66% สัญญาณเตือนของการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศนั้น มีปรากฏให้เห็นแล้วตั้งแต่ ภาวะแห้งแล้งในออสเตรเลีย ไปจนถึง อุณหภูมิเดือนม.ค.ที่สูงทำลายสถิติทั่วยุโรป

"วันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2007 น่าจะได้รับการจดจำว่า เป็นวันที่เครื่องหมายคำถาม เรื่องมนุษย์เป็นตัวการการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศหรือไม่ ได้ถูกกำจัดออกไป" อาชิม สไตเนอร์ (Achim Steiner) ประธานโครงการสิ่งแวดล้อมของยูเอ็น (UNEP) กล่าวในการแถลงข่าว

เขาเร่งให้รัฐบาลต่างๆ เพิ่มแรงผลักดันในการเจรจาตัดลดการปล่อยไอเสียในระยะยาว เพื่อแก้ปัญหาระดับก๊าซเรือนกระจกในชั้นบรรยากาศ ซึ่งไม่เคยสูงเท่านี้มาก่อนในรอบ 650,000 ปีที่ผ่านมา

"ยึดตามหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ เรากำลังทำในสิ่งที่ไม่เคยเกิดขึ้นใน 650,000 ปี" ราเชนทรา ปาจาอุรี (Rajendra Pachauri) ประธานไอพีซีซี แถลง

ข้อสรุปความยาว 21 หน้านี้ ให้โครงร่างการเปลี่ยนแปลงอันน่ากลัว อาทิ น้ำแข็งในทะเลที่ขั้วโลกเหนืออาจละลายหมดในหน้าร้อนภายในปี 2100 และระบุด้วยว่า "เป็นไปได้มากกว่าเป็นไปไมได้" ที่ก๊าซเรือนกระจกได้ทำให้พายุหมุนเขตร้อนมีความรุนแรงมากขึ้น

รายงานดังกล่าว "ประมาณแบบเจาะจงที่สุด" ว่า อุณหภูมิจะเพิ่มสูงขึ้น 1.8 - 4 องศาเซลเซียส ในศตวรรษที่ 21 นี้ โดยได้ประมาณอย่างกว้างกว่าด้วย เอาไว้ที่ 1.1-6.4 องศาเซลเซียส

ทั้งนี้อุณหภูมิเพิ่มสูงขึ้น 0.7 องศาเมื่อศตวรรษที่ 20 และ 10 ปีที่ร้อนที่สุดนับตั้งแต่มีการเก็บสถิติมาตั้งแต่ทศวรรษที่ 1850 อยู่ในปีหลังปี 1994 เป็นต้นมา

เจ้าหน้าที่จากยูเอ็นหวังว่ารายงานดังกล่าวจะทำให้รัฐบาลต่างๆ นำโดยสหรัฐฯ ซึ่งเป็นผู้ปล่อยก๊าซเรือนกระจกอันดับ 1 รวมทั้งบริษัทต่างๆ ลงมือตัดลดก๊าซเรือนกระจกให้มากกว่านี้ ซึ่งก๊าซดังกล่าว ถูกปล่อยออกมาจากการเผาไหม้เชื้อเพลิงฟอสซิล ในโรงไฟฟ้า โรงงาน และรถยนต์ เป็นส่วนมาก

ผู้สนับสนุนพิธีสารเกียวโตของยูเอ็น (อนุสัญญาที่ผูกพันให้ประเทศอุตสาหกรรม 35 ประเทศ ตัดลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกภายในปี 2012) จำนวนมาก ต้องการให้ประเทศที่ไม่เกี่ยวข้องเข้ามามีส่วนร่วมมากกว่านี้ ที่ผ่านมา สหรัฐฯและจีนยังไม่ยอมตกลงทำตามเป้าหมายของพิธีสารดังกล่าว

ประธานาธิบดีของคิริบาตี ประเทศหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก ซึ่งถูกคุกคามจากระดับน้ำทะเลที่เพิ่มสูงขึ้น ระบุว่า เวลานั้นเหลือน้อยลงทุกที

"คำถามก็คือ เราทำอะไรได้ตอนนี้? เราแทบจะทำอะไรไม่ได้เพื่อหยุดกระบวนการนั้น" ประธานาธิบดี อะโนเท ทอง กล่าว

รายงานดังกล่าว คาดการณ์ว่า ระดับน้ำทะเลจะเพิ่มสูงขึ้น 18 ถึง 59 ซม. ในศตวรรษนี้ และระบุว่า ยังเป็นไปได้ที่จะเพิ่มสูงกว่านี้หากแผ่นน้ำแข็งในทวีปแอนตาร์กติกา และเกาะกรีนแลนด์ละลาย

นักวิทยาศาสตร์ระดับแนวหน้าบางคนไม่เห็นด้วยกับร่างก่อนหน้าที่ลดขอบเขตจากที่ปี 2001 คาดไว้ว่าน้ำทะเลจะเพิ่มสูงขึ้น 9 ถึง 88 ซม.ภายในปี 2100 ทั้งนี้ระดับน้ำทะเลที่เพิ่มสูงขึ้นจะคุกคามประเทศอย่าง คิริบาตี ตลอดจนเมืองริมทะเลต่างๆ นับตั้งแต่ เซี่ยงไฮ้ ถึงบัวโนสไอเรส

อ้างอิง
http://www.universal-signal.com/html/worldcriticalnews.htm

การเปลี่ยนแปลงของโลกสมัยใหม่


ผลพวงจากภาวะโลกร้อนยังเดินหน้าทำลายพื้นที่หนาวเย็นต่อไป โดยล่าสุดสหประชาชาติอาจยกชื่อ “ยอดเขาเอเวอเรสต์” ในเทือกเขาหิมาลัยเข้าไปอยู่ในบัญชี “อันตราย”

โครงการ “มิตรของโลก” หรือ “เฟรนด์ส ออฟ ดิเอิร์ธ” (Friends of the Earth) ซึ่งมีสำนักงานใหญ่อยู่ที่อังกฤษ เปิดเผยว่า การละลายของหิมะ จนกลายเป็นกระแสธารน้ำแข็งบน “เอเวอเรสต์” ยอดเขาที่สูงที่สุดในโลก ในเทือกเขาหิมาลัย นอกจากจะมากพอจนเกือบสร้างทะเลสาบหิมาลัยได้แล้ว อาจจะสร้างน้ำท่วมบ่าเป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิต และทำลายสิ่งแวดล้อมอันเป็นลักษณะเฉพาะของธรรมชาติแถบนั้น

อย่างไรก็ดี ทางกลุ่มมิตรโลกจะอ้อนวอนให้คณะกรรมการมรดกโลก ยูเนสโกแห่งสหประชาชาติ (U.N.'s World Heritage Committee) ในปารีส พร้อมด้วยนักปีนเขาผู้พิชิตยอดสูงสุดของเอเวอเรสต์ เช่น ไรน์โฮลด์ มาสเนอร์ (Reinhold Messner) ให้ช่วยกันสังเกตการณ์ความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้น

”ยอดเขาเอเวอเรสต์เป็นสัญลักษณ์อันทรงพลังแห่งธรรมชาติของโลก ไม่ใช่แค่เพียงในเนปาล แต่ถ้าเอเวอเรสต์ถูกทำร้ายด้วยภาวะโลกร้อน พวกเราก็จะเริ่มตระหนักทันทีว่านี่เป็นสถานการณ์ที่อันตรายต่อชีวิตเป็นอย่างยิ่ง” ปรากาช ชาร์มา (Prakash Sharma) ผู้อำนวยการโครงการมิตรของโลกในเนปาลเผย
สถานการณ์โลกร้อนกำลังหนักขึ้นทุกขณะ หลังจากมีปริมาณก๊าซต่างๆ แพร่เข้าสู่ชั้นบรรยากาศมากขึ้น โดยเฉพาะ “คาร์บอน ไดออกไซด์” ตัวการหลักในการทำร้ายสภาพภูมิอากาศทั่วโลก ซึ่งการละลายของธารน้ำแข็งเป็นสัญญาณแรกๆ ที่บอกแก่ชาวโลกว่ากาลอากาศเริ่มเปลี่ยน โดยอุณหภูมิสูงขึ้นเรื่อยๆ

ทางด้าน เพมบา ดอร์เจ เชอร์ปา (Pemba Dorje Sherpa) ผู้ซึ่งใช้เวลาน้อยที่สุดในการปีสู่ยอดเขาเอเวอเรสต์ เปิดเผยว่า หิมะและน้ำแข็งที่เกาะอยู่ตามแนวเขาลดน้อยลงทุกขณะ ซึ่งทำให้เอเวอเรสต์มีความงามทางธรรมชาติลดลง และถ้าสิ่งเหล่านี้หมดไป ก็จะไม่เหลืออะไรไว้ให้เด็กๆ ของเราอีกต่อไป



อ้างอิง

http://www.gotoknow.org/blogs/posts/68053

การเปลี่ยนเเปลงของโลกในปัจจุบัน




การเปลี่ยนแปลงของโลก




เกิดพายุในหลายพื้นที่ของโลกมากขึ้นเป็นประวัติกาล


พืชล้มตาย เนื่องจากทีน้ำท่วมขังเป็นเวลานาน


ทะเลสาบเริ่มหายสาบสูญ




ห้น้ำแข็งขั้วโลกละลายถึง 150 ลูกบาศก์กิโลเมตรต่อปี



วันจันทร์ที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2555


ภาวะโลกร้อน >>> ระเบิดเวลาทำลายโลก


ในระยะวลา 2-3 ปีมานี้ชาวไทยและชาวโลกได้ประสบกับภัยธรรมชาติที่รุนแรงมากขึ้น โดยในประเทศไทยเองก็เกิดการแปรปรวนของฤดูกาลต่างๆ ในฤดูร้อนอากาศก็ร้อนจัด ในฤดูฝนฝนก็ตกไม่หยุดเป็นเวลาหลายวันจนเกิดอุทกภัยในหลายพื้นที่ โดยพื้นที่ส่วนใหญ่อยู่ในภาคเหนือและภาคกลาง ในขณะที่บางพื้นที่ฝนก็ไม่ตกจนเกิดสภาวะแห้งแล้ง ในฤดูหนาวเองก็ไม่หนาวมาเป็นเวลาหลายปีแล้ว แม้แต่การระบาดของโรคไข้เลือดออกในไทยที่เดิมเคยระบาดสองปีครั้ง แต่ปัจจุบันมีการระบาดเกิดขึ้นทุกปี




ในส่วนอื่นๆของโลกก็ได้ประสบกับภัยธรรมชาติที่รุนแรงไม่แพ้กัน เช่นการเกิดอุทกภัยในมาเลเชีย อินเดียและอีกหลายประเทศ การเกิดแผ่นดินไหวที่บ่อยครั้งและมีแนวโน้มที่จะรุนแรงขึ้นเรื่อยๆ การเกิดพายุเฮอริเคนที่รุนแรงและบ่อยครั้งขึ้นในมหาสมุทรแอตแลนติก การเกิดอากาศร้อนในหลายพื้นที่ในยุโรปและสหรัฐอเมริกาจนมีผู้คนเสียชีวิตเป็นจำนวนมาก การเกิดหิมะตกเป็นครั้งแรกในรอบเกือบ 90 ปี ที่กรุงบูโนส ไอเรส ประเทศอาร์เจนตินา ซึ่งเหตุการณ์ทั้งหลายทั้งปวงที่เกิดขึ้นกับโลกของเรานี้ทุกคนล้วนลงความเห็นตรงกันว่ามีสาเหตุมาจาก "ภาวะโลกร้อน" (Global warming)



หิมะตกครั้งแรกในรอบ 89 ปีในกรุงบูโนส ไอเรส ประเทศอาร์เจนตินา

เหตุการณ์น้ำท่วมในหลายพื้นที่ของประเทศไทยในปีพ.ศ. 2549


ภาวะโลกร้อนคือสภาวะที่อุณหภูมิเฉลี่ยบนพื้นโลกสูงขึ้นโดยเป็นผลสืบเนื่องมาจากการเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ และก๊าซเรือนกระจกอื่นๆ ซึ่งเป็นตัวการกักเก็บความร้อนจากแสงอาทิตย์ที่ผ่านชั้นบรรยากาศมายังโลกไว้ไม่ให้สะท้อนกลับออกไปสู่บรรยากาศ หรือที่เราเรียกว่า “ปรากฏการณ์เรือนกระจก” (greenhouse effect) การเพิ่มขึ้นของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์นั้นส่วนใหญ่มาจากการเผาไหม้ของเชื้อเพลิงประเภทฟอสซิลต่างๆ เช่น น้ำมัน ก๊าซธรรมชาติ หรือถ่านหินเป็นต้น ซึ่งมนุษย์นำมาใช้ในกิจกรรมต่างๆในชีวิตประจำวันเช่นในการขนส่งเดินทาง การผลิตกระแสไฟฟ้า และอื่นๆ ดังนั้นเมื่อมนุษย์เรายิ่งใช้พลังงานมากขึ้นเท่าไหร่ปริมาณของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ก็ยิ่งเพิ่มมากขึ้นเป็นเงาตามตัว จึงอาจกล่าวได้ว่าหายนะที่เกิดขึ้นก็เกิดจากน้ำมือของมนุษย์นั่นเอง

พฤติกรรมต่างๆของมนุษย์ในปัจจุบันล้วนแต่เร่งให้ภาวะโลกร้อนรุนแรงขึ้นทั้งสิ้น ไม่ว่าการใช้รถส่วนตัวไปทำงาน การใช้พลังงานไฟฟ้าเกินความจำเป็น การใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างฟุ่มเฟือย การเติบโตอย่างรวดเร็วของโรงงานอุตสาหกรรมต่างๆที่ต่างต้องใช้พลังงานสูงและปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ออกมาเป็นจำนวนมาก แม้แต่ต้นไม้ในป่าที่เคยทำหน้าที่ดูดกลืนก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เพื่อปรับความสมดุลทางธรรมชาติก็ถูกมนุษย์ทำลายอย่างรวดเร็วทั้งจากชาวบ้านที่เข้าถางป่าเพื่อใช้เป็นพื้นที่ทำมาหากิน และจากนายทุนที่ตัดไม้อย่างผิดกฎหมาย

ถึงแม้ว่าธรรมชาติจะมีวิธีการรักษาตัวเองได้จากเหตุการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้น หากเป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเองทางธรรมชาติก็คงใช้เวลาปรับเข้าสู่สภาวะสมดุลได้ไม่นานนัก แต่จากพฤติกรรมของมนุษย์ข้างต้นเป็นการเร่งผลิตแก๊สเรือนกระจกออกมามากเกินขีดความสามารถของโลกที่จะเยียวยาตนเองได้ทัน สภาวะโลกร้อนจึงรุนแรงขึ้นทุกที



หลักเขตกรุงเทพมหานครที่จมลงไปในทะเลที่บางขุนเทียน

อกเหนือจากภัยธรรมชาติและการแปรปรวนของฤดูกาลที่เป็นผลมาจากสภาวะโลกร้อนแล้ว การที่อุณหภูมิเพิ่มขึ้นจากสภาวะโลกร้อนทำให้น้ำแข็งที่ขั้วโลกและที่ยอดเขาต่างๆละลายลงส่งผลให้น้ำทะเลสูงขึ้นจึงทำให้เกิดน้ำท่วมขึ้นในหลายพื้นที่ในโลก ในประเทศไทยเองที่บริเวณชายฝั่งอ่าวไทยกรุงเทพมหานครโดยเฉพาะบริเวณชายทะเลบางขุนเทียนที่จมหายไปในทะเลปีละประมาณ 12 เมตร มีการคาดการณ์ว่าหากน้ำแข็งที่ขั้วโลกทั้งหมดละลายลงจะทำให้ระดับน้ำทะเลสูงขึ้นอีก 6-8 เมตร ถ้าเหตุการณ์ดังกล่าวเกิดขึ้นเมืองต่างๆที่อยู่ริมทะเลจะจมลงใต้น้ำทั้งหมด กรุงเทพมหานครซึ่งมีความสูงเฉลี่ยจากระดับน้ำทะเลปกติประมาณ 1 เมตรก็ต้องจมลงอยู่ใต้ทะเลด้วย นักวิชาการบางคนในประเทศไทยกล่าวว่าอาจจะต้องมีการย้ายเมืองหลวงไปอยู่ที่อื่นเลยทีเดียว

ผลกระทบจากภาวะโลกร้อน
  • อุณหภูมิเฉลี่ยของโลกเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วโดยเฉพาะใน 2-3 ทศวรรษหลัง
  • ภาวะอากาศแปรปรวนเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว เช่น คลื่นความร้อนพายุ และการเกิดไฟป่า
  • จำนวนพายุเฮนริเคนระดับ 4 และ 5 เพิ่มขึ้นสองเท่า ในสามสิบปีที่ผ่านมา
  • เกิดโรคภัยต่างๆขึ้นผิดปกติจากที่เคยเป็นเช่นการระบาดของโรคไข้เลือดออกในไทยซึ่งจากเดิมระบาดสองปีครั้งกลายเป็นปีละครั้ง และ เชื้อมาลาเรียได้แพร่กระจายไปในที่สูงขึ้น แม้แต่ใน Columbian, Andes ที่สูง 7000 ฟุตเหนือระดับน้ำทะเล เป็นต้น
  • สัตว์ต่างๆ หลายสปีชี่ส์กำลังตอบสนองต่อภาวะโลกร้อนโดยพยายามย้ายถิ่นที่อยู่ หรือ อาจสูญพันธ์ได้
  • ระดับน้ำทะเลจะสูงขึ้นมากกว่า 6-8 เมตร จากการละลายหายไปของพื้นน้ำแข็งในเขตกรีนแลนด์และแอนตาร์คติกา ซึ่งจะกลืนกินพื้นที่ชายฝั่งทั่วโลก
จะเห็นว่าภาวะโลกร้อนนี้ส่งผลกระทบร้ายแรงต่อมนุษย์รวมทั้งสิ่งมีชีวิตต่างๆทั้งทางตรงและทางอ้อม ซึ่งอาจกล่าวได้ว่ามนุษย์เองเป็นตัวการที่เร่งทำให้เหตุการณ์ที่เกิดรุนแรงขึ้นทุกที ดังนั้นมนุษย์เองควรจะตระหนักถึงปัญหานี้มากขึ้นเพื่อช่วยให้เหตุการณ์ร้ายแรงที่อาจจะเกิดขึ้นให้เกิดขึ้นช้าลงไปหรือไม่เกิดขึ้นเลย ในตอนต่อๆไปจะกล่าวถึงรายละเอียดของปรากฏการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้นรวมถึงวิธีการแก้ไขหรือบรรเทาปัญหาที่เกิดขึ้น


เอกสารอ้างอิง
http://sanluck.igetweb.com/index.php?mo=3&art=198992

วันพุธที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2555

วันสิ้นโลก2012 วันสิ้นโลกจริงหรื

เผยตีความปฏิทินมายาผิด โลกไม่แตกแต่เปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่


นักแปลอักษรโบราณผู้เชี่ยวชาญเผย ชาวตะวันตกถอดความปฏิทินชนเผ่ามายาผิด ชี้ที่จริงโลกไม่แตก แต่อาจหมายถึงการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่เท่านั้น...
สำนักข่าวต่างประเทศ รายงานเมื่อ 2 ธ.ค. ว่า ข้อความจารึกที่วัดของชนเผ่ามายา ในทอร์ทูกัวโร ซึ่งเคยถูกตีความไว้ว่า 2012 จะเป็นปีที่โลกถึงวันดับสูญ จากมหาภัยพิบัติต่าง ๆ อาทิ หลุมดำดูดกลืน ความร้อนจากดวงอาทิตย์ ดาวเคราะห์พุ่งชน หรือะไรก็ตาม
แต่ล่าสุด สเวน โกรเนเมเยอร์ นักแปลอักษรโบราณผู้เชี่ยวชาญชาวเยอรมนี จากมหาวิทยาลัยลาโทรบ ในออสเตรเลีย เผยว่า "มีความเป็นไปได้สูงว่า การถอดความนั้นมีความคลาดเคลื่อน อาจจะไม่ใช่คำทำนายวันโลกาวินาศ แต่หมายถึงการเปลี่ยนแปลงครั้งยิ่งใหญ่" ส่วนการถอดความวันสิ้นโลก เป็นการแปลความหมายแบบผิดๆ ของชาวตะวันตก ซึ่งก่อให้เกิดความตื่นกลัวกันไปเอง
ทั้งนี้ เมื่อปลาย พ.ย.ที่ผ่านา มีรายงานว่า ปฏิทินของชนเผ่ามายา ไม่ได้มีเพียงแค่ชิ้นเดียว แต่ชิ้นที่ 2 ทางการเม็กซิโก ได้เก็บรักษาเอาไว้เป็นอย่างดีมานานหลายปีแล้ว.

ค้นพบปฏิทินวันสิ้นโลกปี 2012 อันที่2 ของเผ่ามายา



สำนักข่าวต่างประเทศรายงานว่า ได้มีการค้นพบปฏิทินที่อ้างถึงวันสิ้นโลกปี 2012 ของชนเผ่ามายา อันที่ 2 ถูกจารึกไว้ในปราสาทโคมัลคัลโค ซึ่งผู้เชียวชาญยืนยันว่ามีการค้นพบจริง แต่ทางการเม็กซิโกได้ทำการเก็บรักษามันไว้เป็นอย่างดีมานานหลายปีแล้ว

อย่างไรก็ตามก่อนหน้านี้ มีการค้นพบหลักฐานทำนายวันสิ้นโลกของชนเผ่ามายาอันแรก ไม่ไกลกันจากพื้นที่ทอร์ทูกัวโร(พื้นที่ของชนเผ่ามายา) ในรัฐตาบัสโก ที่ระบุวันที่เดียวกันบนศิลาจารึกแท่งหนึ่ง โดยข้อความที่พบในทอร์ทูกัวโรระบุว่า โลกจะถึงจุดจบหรือจะเกิดเหตุการณ์เปลี่ยนแปลงโลกครั้งใหญ่ ในเดือนธันวาคม 2012 อันเกี่ยวข้องกับเทพโบลอนยกเต เทพแห่งสงคราม และการสร้างสรรค์

แต่ทั้งนี้ผู้เชี่ยวชาญบางคนบอกว่า การแปลภาษาบนแท่นศิลาจารึกมีความคลาดเคลื่อน ซึ่งเจ้าหน้าที่จากสถาบันประวัติศาสตร์ และโบราณคดีของเม็กซิโก พูดมานานแล้วว่าความตื่นกลัวนี้คือการแปลความหมายแบบผิดๆ คิดไปเองของชาวตะวันตกต่อสิ่งที่จะเกิดขึ้น ณ จุดจบของวงจรปฏิทินของชาวมายา

อย่างไรก็ตามคำแถลงนี้ก็ไม่อาจกลบกระแสความกังวลที่พุ่งสูงได้ เมื่อผู้เชี่ยวชาญด้านชนเผ่ามายาราว 60 คนจะเดินทางไปยังสถานที่ที่พบศิลาจารึก เพื่อหาของสงสัยเกี่ยวกับจุดจบของยุคหนึ่ง และจุดเริ่มต้นของอีกยุค



เดวิด มอร์ริสัน (David Morrison) นักวิทยาศาสตร์นาซ่า (NASA) เปิดเผยถึงข่าวที่กำลังแพร่สะพัดไปทั่วอินเทอร์เน็ตที่ว่า โลกจะถึงคราวสิ้นสุดลงในปี 2012 ด้วยเหตุผลทางดาราศาสตร์เป็นแค่"ข่าวลือ"เท่านั้น โดยด็อกเตอร์มอร์ริสันระบุว่า อาการ"วิตกจักรวาล" (cosmophobia) ถูกยัดเยียดโดยเว็บไซต์วิทยาศาสตร์"ปลอม" และผู้ที่พยายามจะหาเงินจากความไม่รู้ของสาธารณชน..




ความเชื่อที่แพร่กระจายอยู่บนเน็ตที่ว่า วันที่ 21 ธันวาคม 2012 จะเป็นวันโลกาวินาศ (doomsday) เนื่องจากเหตุการณ์บางอย่างที่เกิดขึ้นในจักรวาลจะทำลายโลก กลายเป็นเรื่องหลอกลวง โดยคำยืนยันดังกล่าวมาจากด็อกเตอร์เดวิด มอร์ริสัน นักวิทยาศาสตร์นาซ่า ซึ่งข้อสรุปของคำอ้างต่างๆ และการโต้ตอบของนักวิทยาศาสตร์ที่มีต่อเรื่องดังกล่าว กำลังได้รับการเผยแพร่โดยสมาคมดาราศาสตร์แห่งภาคพื้นแปซิฟิก



หลายเดือนที่ผ่านมา ทางนาซ่า และนักบินอวกาศหลายคนได้รับจดหมาย และอีเมล์แสดงความวิกตกังวลจากข่าวสารที่มีการเผยแพร่บนอินเทอร์เน็ตถึงความเป็นไปได้ที่โลกจะคราววินาศ และความสูญเสียของชีวิตมนุษย์อย่างมากมายในปี 2012 เหตผลและเงื่อนไขที่จะทำให้โลกแตกได้รับการนำเสนออย่างต่อเนื่อง ไม่ว่าจะเป็นการพุ่งชนของดาวเคราะห์ชื่อว่า Nibiru จุดดับบนดวงอาทิตย์ที่เกิดขึ้นอย่งต่อเนื่อง ตำแหน่งใหม่ของการจัดวางศูนย์กลางกาแล็กซี่ และอื่นๆ อีกสารพัดเดวิด มอร์ริสัน บัญญัติอาการหวาดวิตกต่อเหตุการณ์ดังกล่าวว่า "cosmophobia" ซึ่งเกิดขึ้นกับผู้คนทั่วโลกในวงกว้าง



ด็อกเตอร์ มอร์ริสัน ผู้เชี่ยวชาญระบบสุริยจักรวาล (solar system) ที่เป็นที่รู้จักทั่วโลก (และการชนของดาวเคราะห์) และเป็นนักวิทยาศาสตร์ที่ทำหน้าที่เผยแพร่ข่าวสารของนาซ่า บริการ "Ask an Astobiologist" โดยเขาจะตอบคำถามต่างๆ ให้กับสาธารณชน ซึ่งเขาได้รับคำถามมากมายเกี่ยวกับปี 2012 โลกาวินาศจนรู้สึกว่า เขาต้องสืบหาต้นตอ และความจริงในเรื่องนี้ ประเด็นที่เขาให้ความสนใจมากที่สุดในการค้นหาก็คือ ผู้แพร่กระจายหลายรายเริ่มต้นจากภาพยนต์ "2012" ที่มีกำหนดฉายในเดือนพฤศจิกายน โดยการสร้างเว็บไซต์วิทยาศาสตร์"ปลอม" และกระตุ้นให้ผู้คนค้นหาคีย์เวิร์ด "2012" บนเว็บ ซึ่งเว็บไซต์ส่วนใหญ่จะที่ค้นพบได้จะเต็มไปด้วยข้อมูลไร้สาระ และความเข้าใจที่คลาดเคลื่อน โดยเฉพาะผู้ที่เขียนหนังสือเกี่ยวกับความหายนะที่พยายามจะขายหนังสือของพวกเขา






บทความของมอร์ริสันจะอยู่ในรูปของคำถามและคำตอบ ตามด้วยแนะนำแหล่งข้อมูลวิทยาศาสตร์ที่ผู้อ่านสามารถค้นหาเกียวกับเหตุผลที่ว่า ทำไมถึงไม่มีการพูดถึงเหตุการณ์ที่จะเกิดความหายนะในปี 2012 มันมีเหตุผลมากมายที่น่ากังวลเกียวกับอนาคตของโลก แต่ที่แน่ๆ ไม่มีเหตุผล หรือกำหนดช่วงเวลาที่โลกจะแตกในปีนั้น ตัวอย่างแหล่งข้อมูลที่แนะนำ เพื่อแสดงให้เห็นว่า สิ่งแปลกๆ หรือเหตุการณ์ประหลาดต่างๆ เป็นเรื่องโกหกทั้งเพ ค้นหาข้อมูลเพิ่มเติมได้

วันพฤหัสบดีที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2555

จากปัญหาภาวะโลกร้อน อะไรกำลังจะเกิดขึ้นตามมา ?


  • ผลพวงจากภาวะโลกร้อนยังเดินหน้าทำลายพื้นที่หนาวเย็นต่อไป โดยล่าสุดสหประชาชาติอาจยกชื่อ “ยอดเขาเอเวอเรสต์” ในเทือกเขาหิมาลัยเข้าไปอยู่ในบัญชี “อันตราย”

  • โครงการ “มิตรของโลก” หรือ “เฟรนด์ส ออฟ ดิเอิร์ธ” (Friends of the Earth) ซึ่งมีสำนักงานใหญ่อยู่ที่อังกฤษ เปิดเผยว่า การละลายของหิมะ จนกลายเป็นกระแสธารน้ำแข็งบน “เอเวอเรสต์” ยอดเขาที่สูงที่สุดในโลก ในเทือกเขาหิมาลัย นอกจากจะมากพอจนเกือบสร้างทะเลสาบหิมาลัยได้แล้ว อาจจะสร้างน้ำท่วมบ่าเป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิต และทำลายสิ่งแวดล้อมอันเป็นลักษณะเฉพาะของธรรมชาติแถบนั้น

  • อย่างไรก็ดี ทางกลุ่มมิตรโลกจะอ้อนวอนให้คณะกรรมการมรดกโลก ยูเนสโกแห่งสหประชาชาติ (U.N.'s World Heritage Committee) ในปารีส พร้อมด้วยนักปีนเขาผู้พิชิตยอดสูงสุดของเอเวอเรสต์ เช่น ไรน์โฮลด์ มาสเนอร์ (Reinhold Messner) ให้ช่วยกันสังเกตการณ์ความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้น

  • ”ยอดเขาเอเวอเรสต์เป็นสัญลักษณ์อันทรงพลังแห่งธรรมชาติของโลก ไม่ใช่แค่เพียงในเนปาล แต่ถ้าเอเวอเรสต์ถูกทำร้ายด้วยภาวะโลกร้อน พวกเราก็จะเริ่มตระหนักทันทีว่านี่เป็นสถานการณ์ที่อันตรายต่อชีวิตเป็นอย่างยิ่ง” ปรากาช ชาร์มา (Prakash Sharma) ผู้อำนวยการโครงการมิตรของโลกในเนปาลเผย
  • สถานการณ์โลกร้อนกำลังหนักขึ้นทุกขณะ หลังจากมีปริมาณก๊าซต่างๆ แพร่เข้าสู่ชั้นบรรยากาศมากขึ้น โดยเฉพาะ “คาร์บอน ไดออกไซด์” ตัวการหลักในการทำร้ายสภาพภูมิอากาศทั่วโลก ซึ่งการละลายของธารน้ำแข็งเป็นสัญญาณแรกๆ ที่บอกแก่ชาวโลกว่ากาลอากาศเริ่มเปลี่ยน โดยอุณหภูมิสูงขึ้นเรื่อยๆ

  • ทางด้าน เพมบา ดอร์เจ เชอร์ปา (Pemba Dorje Sherpa) ผู้ซึ่งใช้เวลาน้อยที่สุดในการปีสู่ยอดเขาเอเวอเรสต์ เปิดเผยว่า หิมะและน้ำแข็งที่เกาะอยู่ตามแนวเขาลดน้อยลงทุกขณะ ซึ่งทำให้เอเวอเรสต์มีความงามทางธรรมชาติลดลง และถ้าสิ่งเหล่านี้หมดไป ก็จะไม่เหลืออะไรไว้ให้เด็กๆ ของเราอีกต่อไป

อิทธิพลของดวงอาทิตย์ที่ทีต่อโลก

ดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางของสุริยะจักรวาล โลกเป็นดาวเคราะห์ดวงหนึ่ง ซึ่งเป็นบริวารของดวงอาทิตย์ดวงอาทิตย์มีอิทธิพลต่อโลกและความเป็นอยู่ของมนุษย์มาก ที่สำคัญ ๆ คือ ดวงอาทิตย์ทำให้สภาพภูมิศาสตร์ของโลกแตกต่างกันคือ เขตร้อน เขตอบอุ่นเขตหนาว ดวงอาทิตย์ทำให้เกิดการหมุนเวียนของกระแสอากาศที่สำคัญคือ ลม การหมุนเวียนของกระแสน้ำในมหาสมุทร คือกระแสน้ำอุ่น กระแสน้ำเย็น นอกจากนั้น ดวงอาทิตย์ทำให้เกิดวัฎจักรของน้ำซึ่งมีผลต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม ดวงอาทิตย์นอกจากจะให้แสงสว่างแก่โลกเราแล้วยังกระจายรังสีออกมาด้วย ซึ่งมีอันตรายต่อสิ่งมีชีวิต อิทธิพลของดวงอาทิตย์ต่อโลกเรานั้น มีรายละเอียดดังต่อไปนี้


ดวงอาทิตย์ทำให้สภาพภูมิอากาศของโลกแตกต่างกัน
เขตต่างๆ ของโลกที่สำคัญๆ คือเขตร้อน เขตอบอุ่น และเขตหนาว เพราะเขตร้อนได้รับแสงจากดวงอาทิตย์ที่มีระยะทางสั้นที่สุด จึงทำให้ร้อนที่สุด ส่วนเขตอบอุ่น เขตหนาว ระยะของแสงจะยาวขึ้นไปตามลำดับ

ดวงอาทิตย์ทำให้เกิดการหมุนเวียนของกระแสอากาศ ในเวลาเดียวกัน แต่ละเขตแต่ละถิ่นจะได้รับแสงอาทิตย์ไม่เท่ากันและระบายความร้อนไม่เท่ากัน เมื่ออากาศ ณ ที่แห่งหนึ่งได้รับความร้อนจากดวงอาทิตย์จะมีคุณสมบัติเบาขยายตัวลอยสูงขึ้น ณ ที่อีกแห่งหนึ่งมวลอากาศเย็น ซึ่งมีความหนาแน่นมากกว่าเคลื่อนตัวเข้ามาแทนที่ ขณะที่มวลอากาศที่เย็นกว่าเคลื่อนตัวมาแทนที่ เราเรียกว่า “ลม” หรือการหมุนเวียนของกระแสอากาศ และแต่ละแห่งของโลกจะมีอุณหภูมิแตกต่างกันตามเขตร้อน เขตอบอุ่น เขตหนาว จะมีลมประจำปีคือ ลมมรสุม ลมตะวันตก ลมขั้วโลก ตามสถานที่เฉพาะถิ่นจะมีลมบก ลมทะเล ลมว่าว ลมตะเภา เป็นต้น แต่ลมภูเขา ลมบก ลมทะเล เกิดจากการรับความร้อนและการคายความร้อนไม่เท่ากัน คุณสมบัติของน้ำจะรับความร้อนช้าคายความร้อนเร็ว คุณสมบัติของดินจะรับความร้อนเร็วกว่าน้ำคายความร้อนช้ากว่าน้ำคุณสมบัติของหินภูเขา จะรับความร้อนเร็วกว่าดินคายความร้อนเร็วกว่า

การหมุนเวียนของกระแสน้ำในมหาสมุทร
เกิดจากอิทธิพลของลมและอิทธิพลของการรับความร้อนมากน้อยของกระแสน้ำในมหาสมุทรจะทำให้เกิดกระแสน้ำเย็นไหลมายังเขตอบอุ่นและเขตร้อน และกระแสน้ำร้อนไหลจากเขตร้อนไปยังเขตอากาศเย็น เช่น กระแสน้ำอุ่นกัลฟสตรีม กระแสน้ำเย็นแลบราดอร์ เป็นต้น

ดวงอาทิตย์ทำให้เกิดวัฏจักรของน้ำ วัฏจักรของน้ำทำให้เกิดชีวิตเกิดฝน เกิดเมฆหมอก หยาดน้ำค้าง ไอน้ำในบรรยากาศ หรืออาจกล่าวได้ว่า วัฏจักรของน้ำทำให้เกิดชีวิตและสิ่งแวดล้อม วัฏจักรของน้ำเกิดจาก ขณะที่บรรยากาศร้อยขยายตัวลอยขึ้นเบื้องบนพาไอน้ำไปด้วย และในเงื่อนไขของอุณหภูมิที่ต่าง ๆ กัน รวมทั้งสถานการณ์สิ่งแวดล้อมอื่น ๆ เช่น ลมกระแสอากาศ จึงทำให้เกิดเมฆฝน พายุฝนฟ้าคะนอง ลูกเห็บ

รังสีอัลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตย์ รังสีอัลตราไวโอเลตเป็นรังสีที่ทำอันตรายต่อมนุษย์ เช่นโรคต้อกระจก โรคภูมิแพ้ ผิวหนังที่ได้รับรังสีอัลตราไวโอเลตนาน ๆ อาจเป็นมะเร็งได้ ในบรรยากาศมีชั้นโอโซน (Ozone) ประกอบด้วยออกซิเจน 2 อะตอม (O+O) ชั้นโอโซนจะมีความหนาพอสมควร ทำหน้าที่รับรังสีอัลตราไวโอเลตไว้ รังสีที่เหลือลงมายังโลกมีเพียงส่วนน้อยไม่ทำอันตรายต่อมนุษย์


สารคลอโรฟลูออโรคาร์บอน (Cholo Fluorocabons) หรือซีเอฟซี (CFC)เป็นสารที่มนุษย์ใช้เกี่ยวข้องกับเครื่องทำความเย็นและโฟม สารเฮลโรน (Halons) ซึ่งมีธาตุจำพวกคลอรีน (Cl) โบรมีน (Br) สารไนตรัสออกไซด์สารเหล่านี้มนุษย์มีส่วนทำให้เกิดมากขึ้นในบรรยากาศ มีผลทำให้เกิดปฏิกิริยาทางเคมี ทำลายชั้นโอโซนทำให้ชั้นโอโซนบางลงและเมื่อชั้นโอโซนบางลงทำให้รังสีอัลตราไวโอเลตทะลุผ่านมายังผิวโลกได้มาก ผลคืออุณหภูมิโลกร้อนขึ้นจึงเกิดอันตรายต่อมนุษย์และสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ

วันพุธที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2555

การทับถมของตะกอนที่เกิดจากการกร่อน

การคัดขนาดตะกอนด้วยการพัดพาของน้ำ







การทับถมของตะกอนที่เกิดจากการกร่อนและพัดพาโดยกระแสน้ำจะถูกทับถมเป็นชั้นๆ มีลักษณะแตกต่างกันไปตามลักษณะพื้นที่ที่กระแสน้ำพัดผ่านไปเช่น

1.เนินตะกอนรูปพัด (Alluvian Fan) เกิดจากการตกตะกอนทับถมของวัตถุที่ถูกน้ำพัดพามาและลำน้ำมีการไหลผ่าน ลงมาจากหุบเขาชัน (Canton) สู่ที่ราบ (Plain) หรือหุบเขาขยายตัวออกไปเป็นบริเวณกว้าง ทำให้การเปลี่ยนระดับของลำน้ำลงอย่างรวดเร็วทำให้ความรุนแรงของกระแสน้ำลดลง เกิดการตกตะกอนทับถมของตะกอนแผ่กระจายเป็นรูปพัดขึ้นมาในบริเวณหุบเขา เนินตะกอนรูปพัดมีรูปร่างคล้ายกรวย (Cone Shape) มีขนาดกว้างใหญ่เป็นดินตะกอนที่ถูกแม่น้ำพัดพามามักพบบริเวณที่ราบเชิงเขาเป็นส่วนมาก


โลกและการเปลี่ยนแปลง

เปลือกโลกเปลี่ยนแปลงด้วยอิทธิพลของธรรมชาติและมนุษย์ การเปลี่ยนแปลงบางลักษณะเป็นไปอย่างช้าๆใช้เวลานับพันปีจึงจะสังเกตเห็นสิ่งเปลี่ยนแปลง เช่น การเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลก การเปลี่ยนแปลงบางอย่างเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว เช่น การเกิดแผ่นดินไหว
ดังนั้นสิ่งมีชีวิตต่างๆย่อมได้รับอิทธิพลจากการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกทั้งทางตรงและทางอ้อม กล่าวคือ เมื่อภูมิประเทศเปลี่ยนแปลงไป เช่น เมื่อเกิดแผ่นดินไหวอย่างรุนแรง เกิดภูเขาไฟระเบิด ผิวโลกบางส่วนอาจแยกตัวออก เกิดการถล่มถลายและยุบตัวลง ทำให้อาคารบ้านเรือนสิ่งก่อสร้างต่างๆได้รับความเสียหาย เป็นเหตุให้มนุษย์และสิ่งมีชีวิตชนิดต่างๆต้องเสีย ชีวิตเป็นจำนวนมาก อย่างไรก็ตามผลการศึกษาทางธรณีวิทยาบอกให้เราทราบว่า โลกกำลังเปลี่ยนแปลงไปทุกขณะ ถึงแม้ว่าบริเวณบางแห่งจะอยู่ห่างจากแนวรอยต่อระหว่างแผ่นเปลือกโลก แต่ก็มิได้หมายความว่าบริเวณนั้นจะปลอดภัยจากแผ่นดินไหว และภูเขาไฟระเบิดตลอดไป ทั้งนี้เพราะ แนวรอยต่อระหว่างแผ่นเปลือกโลกอาจเปลี่ยนแปลงไปอีก เช่น บริเวณแห่งหนึ่งซึ่งอยู่ห่างจากรอยต่อระหว่างแผ่นเปลือกโลก เมื่อเวลาผ่านไปอาจเกิดแนวรอยต่อระหว่างแผ่นเปลือกโลกขึ้นใหม่ และผ่านเข้าใกล้บริเวณนั้นก็ได้ นอกจากนั้นมนุษย์ยังเป็นผู้ลายความสมดุลทางธรรมชาติ เช่น การตัดไม้ทำลายป่า ซึ่งเป็นการทำให้เปลือกโลกเปลี่ยนแปลง ก่อให้เกิดความเดือดร้อนแก่มนุษย์เอง และสิ่งมีชีวิตชนิดอื่นได้อย่างรวดเร็ว
ดังนั้นเราทุกคนจึงจำเป็นต้องศึกษา และทำความเข้าใจกับกระบวนการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกอยู่ตลอดไป เพื่อจะได้เตรียมพร้อมที่จะรับการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกที่จะเกิดขึ้นในอนาคต